สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์การบริหารส่วนตำบลตาดกลอย
ที่ตั้ง
องค์การบริหารส่วนตำบลตาดกลอย ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 3 บ้านตาดกลอยเหนือ อำเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของอำเภอหล่มเก่า ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลตั้งอยู่ห่างจากอำเภอหล่มเก่า มีระยะทางประมาณ 32 กิโลเมตร พื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลตากลอย มีจำนวน 218.06 ตร.กม. หรือ 136,293 ไร่
แผนที่ตำบลตาดกลอย
อาณาเขต
พื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลตาดกลอย เป็นที่ราบสูง และเป็นภูเขาส่วนใหญ่ อยู่ในเขตฝั่งซ้ายของแม่น้ำป่าสัก มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่อื่นๆ ดังนี้
ทิศเหนือ | ติดกับตำบลศิลา อ.หล่มเก่า จ.เพชรบูรณ์ |
ทิศใต้ | ติดกับตำบลหินฮาว อ.หล่มเก่า และตำบลท่าอิบุญ อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์ |
ทิศตะวันออก | ติดกับตำบลหลักด่าน อ.น้ำหนาว จ.เพชรบูรณ์ และ ต.เลยวังไสย อ.ภูหลวง จ.เลย |
ทิศตะวันตก | ติดกับตำบลศิลา อ.หล่มเก่า จ.เพชรบูรณ์ |
เขตการปกครอง
หมู่ที่ 1 บ้านวังขอน | หมู่ที่ 6 บ้านวังเวินพัฒนา |
หมู่ที่ 2 บ้านห้วยอีจีน | หมู่ที่ 7 บ้านกกกล้วยนวน |
หมู่ที่ 3 บ้านตาดกลอยเหนือ | หมู่ที่ 8 บ้านวังม่วง |
หมู่ที่ 4 บ้านตาดกลอยใต้ | หมู่ที่ 9 บ้านห้วยโป่งน้ำ |
หมู่ที่ 5 บ้านตาดข่า |
ประชากร
ประชากรในตำบลตาดกลอยมีจำนวนทั้งสิ้น 6,808 คน แยกเป็นชาย 3,460 คน แยกเป็นหญิง 3,348 คน
มีความหนาแน่นเฉลี่ย 29 คน / ตารางกิโลเมตร
มีจำนวนครัวเรือนทั้งหมด 1,869 ครัวเรือน แยกตามหมู่บ้านได้ดังต่อไปนี้
หมู่ที่ 1 บ้านวังขอน | จำนวน 194 ครัวเรือน | หมู่ที่ 6 บ้านวังเวินพัฒนา | จำนวน 128 ครัวเรือน |
หมู่ที่ 2 บ้านห้วยอีจีน | จำนวน 273 ครัวเรือน | หมู่ที่ 7 บ้านกกกล้วยนวน | จำนวน 203 ครัวเรือน |
หมู่ที่ 3 บ้านตาดกลอยเหนือ | จำนวน 492 ครัวเรือน | หมู่ที่ 8 บ้านวังม่วง | จำนวน 92 ครัวเรือน |
หมู่ที่ 4 บ้านตาดกลอยใต้ | จำนวน 233 ครัวเรือน | หมู่ที่ 9 บ้านห้วยโป่งน้ำ | จำนวน 73 ครัวเรือน |
หมู่ที่ 5 บ้านตาดข่า | จำนวน 181 ครัวเรือน |
สภาพเศรษฐกิจ
สภาพเศรษฐกิจภายในตำบลตาดกลอย ประชากรประกอบอาชีพทางการเกษตรและรับจ้างประมาณร้อยละ 90 และอีกร้อยละ 10 ประกอบอาชีพอื่นๆ
พืชเศรษฐกิจของตำบลคือ ข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ ข้าว ยาสูบ พืชที่ประชากรปลูกมากที่สุดคือ ข้าวโพด ซึ่งเป็นอาชีพหลักของเกษตรกรที่ทำรายได้มากพอสมควร
ในด้านสัตว์เลี้ยง ส่วนใหญ่เกษตรจะเลี้ยงไว้เพื่อบริโภคเอง ได้แก่ ไก่ เป็ด สุกร โค กระบือ ในส่วนของการเลี้ยงเพื่อจำหน่ายมีการฟาร์มเลี้ยงไก่พันธุ์เนื้อ โค กระบือ ที่หมู่ที่ 2 บ้านห้วยอีจีนและหมู่ที่ 3 บ้านตาดกลอยเหนือ
และมีหน่วยธุรกิจภายในตำบลคือ
1. ปั้มน้ำมัน และก๊าซ | 12 | แห่ง |
2. โรงสี | 2 | โรงสี |
3. ร้านขายของชำ | 47 | แห่ง |
4. โรงฆ่าสัตว์ | 1 | แห่ง |
สภาพสังคม
การศึกษา
โรงเรียนประถมศึกษา | จำนวน | 7 | แห่ง |
สอนระดับ อนุบาล – ประถมศึกษาที่ 6 | จำนวน | 7 | แห่ง |
สอนระดับ อนุบาล – มัธยมศึกษาที่ 3 | จำนวน | 3 | แห่ง |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก | จำนวน | 3 | แห่ง |
ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน | จำนวน | 9 | แห่ง |
สถาบันและองค์กรทางศาสนา
วัด / สำนักสงฆ์ | จำนวน | 12 | แห่ง |
โบสถ์ | จำนวน | - | แห่ง |
การสาธารณสุขและการเกษตร
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ | จำนวน | 2 | แห่ง |
สถานพยาบาล | จำนวน | - | แห่ง |
ศูนย์สาธารณสุขมูลฐาน | จำนวน | 9 | แห่ง |
สถานพยาบาลเอกชน | จำนวน | - | แห่ง |
ศูนย์สงเคราะห์ราษฎรประจำหมู่บ้าน | จำนวน | 9 | แห่ง |
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร | จำนวน | 1 | แห่ง |
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
ป้อมเวรยามประจำหมู่บ้าน | จำนวน | 9 | แห่ง |
ป้อมยามตำรวจ | จำนวน | 1 | แห่ง |
มวลชนจัดตั้ง
ลูกเสือชาวบ้าน | 4 | รุ่น | 467 | คน |
ไทยอาสาสมัครรักษาความสงบประจำหมู่บ้าน | 1 | รุ่น | 150 | คน |
กองหนุนเพื่อความมั่นคง | - | รุ่น | - | คน |
อปพร. | 1 | รุ่น | 50 | คน |
กลุ่มเยาวชน | - | รุ่น | - | คน |
กลุ่มสตรี | - | รุ่น | 350 | คน |
อสม. | - | รุ่น | 102 | คน |
การบริการขั้นพื้นฐาน
การคมนาคม
ถนนสายหลักที่ติดต่อกับอำเภอ | จำนวน | 467 | สาย |
สายหล่มเก่า – น้ำหนาว ลาดยางทั้งหมดแล้ว | |||
สายหล่มเก่า – วังขอน – ตาดกลอย ลาดยางแล้ว 100 % | สายหล่มเก่า – วังขอน – ตาดกลอย ลาดยางแล้ว 100 % | สายหล่มเก่า – วังขอน – ตาดกลอย ลาดยางแล้ว 100 % | สายหล่มเก่า – วังขอน – ตาดกลอย ลาดยางแล้ว 100 % |
ถนนภายในหมู่บ้านทำถนนคอนกรีตแล้ว | จำนวน | 8,000 | เมตร คิดเป็นร้อยละ 70 |
สถานีรถไฟ | จำนวน | - | แห่ง |
ทางหลวงแผ่นดิน | จำนวน | - | สาย |
ทางหลวงจังหวัด | จำนวน | 1 | สาย |
ถนนหมู่บ้าน | จำนวน | 20 | สาย |
ทางหลวงชนบท | จำนวน | 2 | สาย |
การโทรคมนาคม
ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข | จำนวน | 1 | แห่ง |
โทรศัพท์สาธารณะ | จำนวน | 10 | แห่ง |
การไฟฟ้า
ประชากรในเขตตำบลตาดกลอยมีทั้งหมด 1,869 ครัวเรือน จำนวนครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้คิดเป็นร้อยละ 95 ของครัวเรือนทั้งหมด
แหล่งน้ำและทรัพยากรธรรมชาติ
แหล่งธรรมชาติ
ลำน้ำ, ลำห้วย | จำนวน | 10 | สาย |
คลอง | จำนวน | - | สาย |
บึง, หนองน้ำและอื่น ๆ | จำนวน | 4 | แห่ง |
แม่น้ำ | จำนวน | 2 | แห่ง |
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
สระเก็บน้ำ | จำนวน | 2 | แห่ง |
ประปาหมู่บ้าน | จำนวน | 16 | แห่ง |
ฝาย | จำนวน | - | แห่ง |
บ่อน้ำตื้นสาธารณะ | จำนวน | 1 | แห่ง |
บ่อน้ำโยก | จำนวน | 40 | แห่ง |
อ่างเก็บน้ำ | จำนวน | 2 | แห่ง |
สถานที่ท่องเที่ยว จำนวน 2 แห่ง
ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่
ป่าไม้ เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ประชาชนในตำบลต้องรักษา อนุรักษ์ฟื้นฟูให้อยู่ สภาพที่อุดมสมบูรณ์
การเมืองการบริหาร
ศักยภาพขององค์การบริหารส่วนตำบล
สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบล | จำนวน | 18 | คน |
คณะผู้บริหาร อบต. | จำนวน | 4 | คน |
1.จำนวนบุคลากร | จำนวน | 51 | คน |
- ตำแหน่งในสำนักงานปลัดฯ | จำนวน | 20 | คน |
- ตำแหน่งในกองคลัง | จำนวน | 7 | คน |
- ตำแหน่งในกองช่าง | จำนวน | 12 | คน |
- ตำแหน่งกองการศึกษา ฯ | จำนวน | 12 | คน |
2.ระดับการศึกษาของบุคลากร | จำนวน | คน | |
- ต่ำกว่าริญญาตรี | จำนวน | 23 | คน |
- ปริญญาตรี | จำนวน | 21 | คน |
- สูงกว่าปริญญาตรี | จำนวน | 7 | คน |
ศักยภาพของชุมชนและพื้นที่
1.การรวมกลุ่มของประชาชน | จำนวน | 3 | กลุ่ม |
แยกประเภทกลุ่ม | |||
- กลุ่มกองทุนหมู่บ้าน | จำนวน | 9 | กลุ่ม |
- กลุ่มธนาคารหมู่บ้าน | จำนวน | 9 | กลุ่ม |
- กลุ่มอาชีพ | จำนวน | - | กลุ่ม |
- กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้า | จำนวน | - | กลุ่ม |
- กลุ่มเกษตรกร | จำนวน | - | กลุ่ม |
- กลุ่มปลูกใบยาสูบ | จำนวน | - | กลุ่ม |
- กลุ่มกองทุนหมุนเวียนเพื่อการเกษตร | จำนวน | 9 | กลุ่ม |
2.จุดเด่นของพื้นที่ (ที่เอื้อต่อการพัฒนาตำบล) | |||
- เป็นพื้นที่สูงน้ำไม่ท่วมขัง | |||
- มีทัศนียภาพที่สวยงาม | |||
- เป็นแหล่งการเกษตรพืชไร่ที่ได้ผล |